จุดเปลี่ยนเพื่อเด็กไร้รัฐในประเทศไทย
thitinob
5 May 2006
จุดเริ่มต้น?.
"คุณรู้จักเด็กไร้รัฐในประเทศไทยสักคนไหม?"
เราไม่โทษที่คุณไม่รู้จัก ทั้งที่เด็กเหล่านี้มีชีวิตและอาจเดินสวนกับคุณอยู่ทุกวัน แต่เขากลับไร้ "ตัวตน" อยู่แบบไม่มีสถานะบุคคลตามกฎหมาย และไม่มีเอกสารหลักฐานที่จะใช้พิสูจน์ตน ที่รัฐจะรับรองความเป็นคน รัฐไม่เคยกอดและมอบสิทธิหรือสวัสดิการใดให้แก่เขา บางช่วงเวลาก็จะถูกกดและหวด ตี ด้วยทัศนะเหยียดเด็กว่า เป็น "ภัยความมั่นคง" หรือ "ภาระของประเทศชาติ" อันเป็นปัญหาสังคม
เขาตะโกนแทบตาย เขาขอความช่วยเหลือจากคุณ แต่เสียงของเขาหายไป เพราะเขาไม่มีตัวตน!!!
"คุณรู้จักเด็กไร้รัฐในประเทศไทยสักคนไหม?"
เราไม่โทษที่คุณไม่รู้จัก ทั้งที่เด็กเหล่านี้มีชีวิตและอาจเดินสวนกับคุณอยู่ทุกวัน แต่เขากลับไร้ "ตัวตน" อยู่แบบไม่มีสถานะบุคคลตามกฎหมาย และไม่มีเอกสารหลักฐานที่จะใช้พิสูจน์ตน ที่รัฐจะรับรองความเป็นคน รัฐไม่เคยกอดและมอบสิทธิหรือสวัสดิการใดให้แก่เขา บางช่วงเวลาก็จะถูกกดและหวด ตี ด้วยทัศนะเหยียดเด็กว่า เป็น "ภัยความมั่นคง" หรือ "ภาระของประเทศชาติ" อันเป็นปัญหาสังคม
เขาตะโกนแทบตาย เขาขอความช่วยเหลือจากคุณ แต่เสียงของเขาหายไป เพราะเขาไม่มีตัวตน!!!
"แม่ค้า" พูด "ข้าวแกง" เล่า
thitinob
5 May 2006
เสิร์ฟออเดิร์ฟ
มีคนบอกว่างานเขียนสารคดีแนวชีวประวัติ หรือเรื่องเล่าของครอบครัว (family history) ในบ้านเรามีน้อยมาก ยิ่งงานที่เล่าย้อนไปถึงบรรพบุรุษผู้เขียนยิ่งหาได้ยาก ในส่วนที่มีจัดพิมพ์ขึ้นนั้นก็มักเป็นเรื่องราวของชนชั้นเจ้านายในวัง สมัยแรกก็มีกรมพระยาดำรงราชานุภาพ ที่เขียนพร้อมกับเล่า "ประวัติศาสตร์ชาติ" หรือประวัติศาสตร์ของ " ผู้ปกครอง" คนในศูนย์กลาง
มีคนบอกว่างานเขียนสารคดีแนวชีวประวัติ หรือเรื่องเล่าของครอบครัว (family history) ในบ้านเรามีน้อยมาก ยิ่งงานที่เล่าย้อนไปถึงบรรพบุรุษผู้เขียนยิ่งหาได้ยาก ในส่วนที่มีจัดพิมพ์ขึ้นนั้นก็มักเป็นเรื่องราวของชนชั้นเจ้านายในวัง สมัยแรกก็มีกรมพระยาดำรงราชานุภาพ ที่เขียนพร้อมกับเล่า "ประวัติศาสตร์ชาติ" หรือประวัติศาสตร์ของ " ผู้ปกครอง" คนในศูนย์กลาง
Good Night, and Good Luck
thitinob
4 May 2006
บทบาทใหม่ของแม่ม่ายเนปาล
thitinob
4 May 2006
มลฤดี จันทร์สุทธิพันธุ์ รายงานใน จุดประกาย กรุงเทพธุรกิจ วันที่ 4 พฤษภาคม 2549
ถอดประสบการณ์สื่อสารสาธารณะเพื่อเด็ก
thitinob
4 May 2006
ความล้มเหลวของ "ห้องเรียน" เด็กกับนโยบายสาธารณะเพื่อสร้างสันติวิธี 3 จังหวัดชายแดนใต้
thitinob
4 May 2006
หากการยอมรับความล้มเหลวเป็นจุดเริ่มต้นของการตรวจสอบแก้ไข
งานเขียนชิ้นนี้ จึงเสนอเรื่องราวเกี่ยวกับความล้มเหลวหลายประการ
โดยวางศูนย์กลางการศึกษาไว้ 2 แห่ง คือ เด็ก-แกนนำนักศึกษาจาก 6 สถาบันการศึกษาในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้ และ "สื่อมวลชน" ที่ร่วมอยู่ในห้องเรียนนี้ พร้อมกับ "ขบถ" วิธีการเขียนงานวิชาการทั่วไป โดยเปิด "เสียงของเด็ก" ที่เคยถูกมองข้าม (และบางคนยังมองข้ามอยู่) ให้เป็นทั้งบริบท (context) และตัวบท (text) ที่สำคัญควบคู่ไปพร้อมกัน
งานเขียนชิ้นนี้ จึงเสนอเรื่องราวเกี่ยวกับความล้มเหลวหลายประการ
โดยวางศูนย์กลางการศึกษาไว้ 2 แห่ง คือ เด็ก-แกนนำนักศึกษาจาก 6 สถาบันการศึกษาในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้ และ "สื่อมวลชน" ที่ร่วมอยู่ในห้องเรียนนี้ พร้อมกับ "ขบถ" วิธีการเขียนงานวิชาการทั่วไป โดยเปิด "เสียงของเด็ก" ที่เคยถูกมองข้าม (และบางคนยังมองข้ามอยู่) ให้เป็นทั้งบริบท (context) และตัวบท (text) ที่สำคัญควบคู่ไปพร้อมกัน
"ความมั่นคง(แห่งชาติ)เป็นเรื่องของความรู้สึก"
thitinob
4 May 2006
Security is the Matter of Feelings
คู่มือรายงานข่าวความมั่นคง
thitinob
4 May 2006
จากเหตุการณ์นักศึกษาพม่าบุกจับตัวประกันในสถานทูตพม่าในกรุงเทพฯ นักรบชายแดนก็อดอาร์มี่บุกยึดโรงพยาบาลศูนย์ราชบุรี สื่อมวลชนไทยทุกแขนงถูกตั้งคำถามและถูกวิพากษ์วิจารณ์ในแง่ของการปฏิบัติหน้าที่อย่างหนักหน่วงทั้งในระดับชาติและสากล และล่าสุดสถานการณ์ความรุนแรงใน 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้ ซึ่งทุกภาคส่วนถูกท้าทาย และถูกตั้งคำถามจาก "ความไม่รู้ว่าเกิดอะไรขึ้น" ในสถานการณ์ความรุนแรงในพื้นที่ดังกล่าว แน่นนอนวงการสื่อมวลชนต้องตกเป็น "จำเลย" สำคัญอีกครั้ง ว่าเป็นส่วนหนึ่งในการเพิ่มอุณหภูมิของความรุนแรงที่เกิดขึ้นด้วย ทั้งเหตุและผลจาก "ความไม่รู้" จึงเป็นจุดเริ่มต้นที่สำคัญในการทบทวน วิพากษ์บทบาทหน้าที่และก
ตลาดสด : พื้นที่ความสัมพันธ์ของผู้หญิงผ่านอาหาร
thitinob
3 May 2006
ฐิตินบ โกมลนิมิ
เขียนเรื่องนี้ในวิชาฝึกปฏิบัติ ของหลักสูตรสตรีศึกษา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เพื่อเป็นนักมนุษยวิทยาแนวสตรีนิยม แต่ก็ "ขบ" กับอาจารย์ที่ปรึกษาที่ต้องการให้ไปฝึกปฏิบัติกับองค์กสตรีที่ทำงานช่วยเหลือผู้หญิง เมื่อฐิตินบ ยืนยันว่าจะลงศึกษาพื้นที่ตลาดสดให้ได้ อาจารย์ที่ปรึกษาก็มีคำถามใหม่มาท้าทายอีกว่า "แม่ค้าในตลาดสดมีปัญหาอะไร?"
จะทำอย่างไรดีเมื่อนักศึกษากับอาจารย์ที่ปรึกษามีมุมมองการวิจัยที่แตกต่างกัน?
เขียนเรื่องนี้ในวิชาฝึกปฏิบัติ ของหลักสูตรสตรีศึกษา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เพื่อเป็นนักมนุษยวิทยาแนวสตรีนิยม แต่ก็ "ขบ" กับอาจารย์ที่ปรึกษาที่ต้องการให้ไปฝึกปฏิบัติกับองค์กสตรีที่ทำงานช่วยเหลือผู้หญิง เมื่อฐิตินบ ยืนยันว่าจะลงศึกษาพื้นที่ตลาดสดให้ได้ อาจารย์ที่ปรึกษาก็มีคำถามใหม่มาท้าทายอีกว่า "แม่ค้าในตลาดสดมีปัญหาอะไร?"
จะทำอย่างไรดีเมื่อนักศึกษากับอาจารย์ที่ปรึกษามีมุมมองการวิจัยที่แตกต่างกัน?
คุณเคยรู้จักเด็กพิเศษสักคนไหม?
thitinob
2 May 2006
"ที่เชื่อหมอมาก เพราะเราเองมองลูกเรา ก็ว่าลูกปกติ เพราะเขาจะยิ้ม เล่นอะไรไปตามเรื่องของเขา มองหน้ามองตาเรา ก็เหมือนลุกสองคนตอนเล็กๆ เราไม่เห็นความแตกต่าง เขาจะมอง เขาจะเล่น"
คุณชอบตัดสินใจแทนคนพิการหรือเปล่า?
thitinob
2 May 2006
เมื่อความพิการเป็นสิ่งบางอย่างที่คนในสังคมนำไปใส่ให้กับคนที่ประสบกับความสูญเสียทางกายภาพ-จิต คนที่มีความพิการมักต้องเผชิญกับรูปแบบหนึ่งของการปฏิบัติที่เป็นอคติของสังคม ทั้งที่ ?ความพิการ?
เรื่องเล่ากับการสร้างอัตลักษณ์ของคนชายขอบ
thitinob
2 May 2006
ชีวิตประจำวันกับการเขียนประวัติศาสตร์ของผู้หญิง
thitinob
2 May 2006
โฆษณาเชิงบทความ - ความจริงเพียงครึ่งเดียว
thitinob
1 May 2006
ด้วยข้อจำกัดหลายอย่าง โฆษณาแบบตรงไปตรงมากลายเป็นความน่าเบื่อ รูปแบบของ "โฆษณาเชิงบทความ" หรือ Advertorial จึงถูกคิดค้นและสร้างสรรค์ให้สอดรับความต้องการของผู้โฆษณาและสังคมที่ต้องการข้อมูลข่าวสาร กลายเป็นความลงตัวระหว่างสื่อกับโฆษณา
แต่ท่ามกลางการเติบโตของโฆษณาเชิงบทความ การประชาสัมพันธ์แบบนี้กำลังถูกตั้งคำถามจากหลายฝ่าย พิษณุรักษ์ ปิตาทะสังข์ รายงาน ในจุดประกาย กรุงเทพธุรกิจ เมื่อวันที่ 27 เมษายน 2549