Skip to main content

สัมภาษณ์พิเศษ "เทพชัย หย่อง" ทิศทางและความท้าทายของศูนย์ข่าวอิศรา

ธนก บังผล
ศูนย์ข่าวอิศรา สมาคมนักข่าวนักหนังสือพิมพ์แห่งประเทศไทย

 ย่างเข้าสู่เดือนที่ 9 ในการดำเนินงานของ "ศูนย์ข่าวอิศรา" ในนามสมาคมนักข่าวนักหนังสือพิมพ์แห่งประเทศไทย ที่มาปักหลักลงพื้นที่ใน 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้ ซึ่งนับถึงวันนี้ได้ผลิตผลงานมาแล้วเกือบ 800 ข่าว

บันทึกบทเริ่มต้น "ศูนย์ข่าวอิศรา" ในสถานการณ์ความรุนแรง

 ประดิษฐ์ เรืองดิษฐ์

26 สิงหาคม 2548 : น้ำใจสันติภาพ
ผมนั่งรถเพื่อนสมิหลาไทม์ ซึ่งเป็นหนังสือพิมพ์ท้องถิ่น ออกจากสนามบินหาดใหญ่มุ่งหน้าสู่ศูนย์ข่าวอิศรา ที่ตั้งอยู่ใน มอ.ปัตตานี

สัมภาษณ์ ภัทระ คำพิทักษ์ : เราเปลี่ยนคนไทยให้วิจารณ์ไฟใต้ด้วยข้อมูล

 เมื่อวันที่ 3 มกราคม 2549 "ประชาไท" เคยเขียนถึง "ศูนย์ข่าวอิศรา" เป็นอีกบันทึกหนึ่งที่มีค่าสำหรับเรา...

ปฏิเสธไม่ได้ว่า ตลอดปลายปี 2548 บทบาทของ ‘ศูนย์ข่าวอิศรา' ที่จัดตั้งขึ้นโดย ‘สมาคมนักข่าวนักหนังสือพิมพ์แห่งประเทศไทย' สร้างผลสะเทือนต่อการนำเสนอข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับสถานการณ์ความไม่สงบในจังหวัดชายแดนสูงยิ่ง

"เหยี่ยวอิศรา" สื่อหน้าใหม่

 เมื่อวันที่ 13 ตุลาคม 2548 เปลวสีเงิน แห่งไทยโพสต์ได้เขียนถึง 'เหยี่ยวอิศรา' สื่อหน้าใหม่ เราลองกลับมาอ่านกันอีกครั้ง...

ตามไปดู "ศูนย์ข่าวอิศรา" ด้วยปีกแห่งสันติภาพ

คอลัมน์ สดจากพื้นที่
โดย ธนก บังผล

เสียงโทรศัพท์ที่ดังระงมไม่ขาดสาย แป้นพิมพ์ถูกนิ้วทั้งสิบรัวเคาะไม่เป็นจังหวะ นักข่าวหลายชีวิตก้มหน้าอยู่กับคอมพิวเตอร์และกระดาษจดข่าวต่างก้มหน้าก้มตา ห้องเล็กๆ ที่ถูกแปลงมาเป็นศูนย์ข่าวอิศราแห่งนี้ ไม่เคยหลับ

บันทึกบทแรก เริ่มต้น"ศูนย์ข่าวอิศรา"

 เปิดฉากศูนย์ข่าวอิสรา-สู่สันติภาพ
คอลัมน์ กระจายเสียง
กองบรรณาธิการ จดหมายข่าวราชดำเนิน

มาม่าพอเพียง-ปากท้องคนรากแก้ว

"คนไม่เข้าใจว่ากิจการใหญ่ๆ เหมือนสร้างเขื่อนป่าสัก ก็เป็นเศรษฐกิจพอเพียงเหมือนกัน เขานึกว่าเป็นเศรษฐกิจสมัยใหม่ เป็นเศรษฐที่ไกลจากเศรษฐกิจพอเพียง นี่เราวัดได้ว่า เป็นเศรษฐกิจพอเพียง อันนี้เป็นตัวอย่าง" พระราชดำรัส ณ ศาลาดุสิตดาลัย วันที่ 23 ธันวาคม 2542

มาม่า ร่วมสนองแนวคิดตามพระราชดำรัสเศรษฐกิจพอเพียง

พอเราเห็นเจ้ามาม่ากระป๋องนี้ใน 7-eleven ก็เข้าใจความดังกล่าวได้ว่า "อ๋อ เขื่อนป่าสักเป็นเศรษฐกิจพอเพียงด้วย และมาใกล้ตัวเราแบบนี้นี่เอง